Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Montane_Plants_Phukhieo_Namnao (1)

Montane_Plants_Phukhieo_Namnao (1)

Description: Montane_Plants_Phukhieo_Namnao (1)

Search

Read the Text Version

เกลด็ จระเข้ (Klet Cho Ra Khe) พชื ใบเล้ยี งคู่ วงศ์ MIMOSACEAE (FABACEAE) ชอื่ พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Albizia attopeuensis (Pierre) I. C. Nielsen ช่อื พอ้ ง (Synonym) : Archidendron ellipticum (Blume) I. C. Nielsen, Pithecellobium attopeuense Pierre, P. attopeuense Pierre., Serialbizzia attopeuense (Pierre) Kosterm., S. acle auct. non (Merr.) Kosterm., Pithecellobium corymbosum Gagnep. ชื่ออืน่ (Vernacular name) : เกลด็ ตะเข,้ เกล็ดแข่ (ชัยภูมิ) ลักษณะทั่วไป : เปน็ ไมต้ น้ ผลัดใบชว่ งสนั้ ๆ ลำ�ต้นเปลาตรง แตกก่งิ สงู เปลอื กนอกหนามาก อ่อนนุ่ม เรยี บ แตกเปน็ สะเกด็ หรือลอกออกเปน็ แผ่นหลาย ๆ ช้ัน หลุดง่าย เปลอื กในสนี �้ำ ตาล ใบประกอบแบบ ขนนก ๒ ช้ัน เรียงสลบั ท่ีกา้ นใบมีตอ่ มหนง่ึ ตอ่ ม ก้านใบยอ่ ยมี ๒–๓ คู่ ใบยอ่ ยรูปไขก่ ว้างแกมรปู รี ปลายกวา้ งหรอื แหลม โคนมนหรือเบี้ยว ขอบเรียบหรือหอ่ เข้าดา้ นหลังเลก็ นอ้ ย แผ่นใบเกลีย้ งทง้ั สองดา้ น ดา้ นบนสเี ข้มกวา่ ด้านลา่ ง กา้ นใบส้ันมาก เรยี งตรงขา้ ม ใบแก่กอ่ นรว่ งสีเหลอื ง ช่อดอกแบบ ชอ่ ซ่ีรม่ ออกท่ซี อกใบใกล้ปลายกง่ิ ดอกสีขาว มีเกสรเพศผู้จำ�นวนมาก ฝกั รูปขอบขนานแบนยาว แห้ง ไมแ่ ตก มกั บดิ โค้งเลก็ นอ้ ย ผวิ ฝักเกลยี้ ง คอดตามรปู รา่ งเมลด็ ฝักแก่สดี ำ� เมลด็ แข็ง รูปเกือกมา้ ปลายมน โคนบุ๋ม ผิวแข็ง เรียบเกลย้ี ง มลี วดลายเฉพาะ มีหลายเมลด็ เป็นไมเ้ รือนยอดชัน้ กลาง ถงึ ชั้นบนในปา่ ดบิ เขา ป่าทงุ่ และปา่ สนเขา ประโยชน์ : เมล็ดเป็นอาหารสตั ว์ป่าในกล่มุ ลิงและคา่ ง ความส�ำ คัญ : หายาก ข้อควรจำ� : คล้ายปนั แถ (Albizzia lucidior) แตป่ นั แถเปลอื กต้นจะเรยี บและบาง ฝกั บางคลา้ ยฝัก กระถนิ และมเี มลด็ ขนาดเล็ก มักพบในพ้นื ที่ต�่ำ ใกล้รมิ ห้วยในปา่ เบญจพรรณและปา่ ดบิ แล้ง หมายเหตุ : ในประเทศไทยเป็นสายพนั ธ์ุ Albizzia attopeuensis var. attopeuensis 230 พรรณไมป้ า่ ดบิ เขาภูเขียว-น้�ำ หนาว

สะบา้ (Sa Ba) พชื ใบเลี้ยงคู่ วงศ์ MIMOSACEAE (FABACEAE) ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Entada rheedii Spreng. ชอ่ื พอ้ ง (Synonym) : Entada phaseoloides (L.) Merr., E. monostachya DC., E. scandensnon Benth., E. scheferi Ridl., Mimosa entada L. ชอื่ อนื่ (Vernacular name) : มะบ้า (ทัว่ ไป); สะบา้ มอญ (กลาง); มอ้ กแกมอ่ื (ละวา้ –เชยี งใหม่); มะนมิ , หมากงมิ (ฉาน–เชียงใหม่); หมากหนิม (ฉาน–แมฮ่ อ่ งสอน); คำ�ต้น, มะบ้าหลวง (เหนอื ) ช่อื สามัญ (Common name) : St. Thomas’s Bean ลกั ษณะทว่ั ไป : เป็นไมเ้ ถาเลื้อยพันเน้อื แขง็ ขนาดใหญ่และยาว ล�ำ ตน้ หรอื เถาบิดเปน็ เกลยี ว กิง่ ก้านออ่ นมขี นนมุ่ ประปราย เปลอื กนอกเรียบหรอื เปน็ ปมุ่ เลก็ ๆ สเี ทาอมน�้ำ ตาล ใบประกอบแบบ ขนนก ๒ ช้ัน ชั้นแรกเปน็ ใบประกอบ ๒ คู่ สว่ นคู่ท่ี ๓ พัฒนาไปเป็นมอื เกาะ กา้ นใบยาว เรยี ง สลบั ใบยอ่ ยรูปรี ปลายมนหรอื หยกั เวา้ ต้ืน ๆ โคนมน ขอบเรยี บ แผน่ ใบเกลยี้ งเป็นมัน ดา้ นบน สเี ขม้ กวา่ ด้านล่าง ชอ่ ดอกแบบหางกระรอก ออกท่ซี อกใบใกลป้ ลายก่งิ มดี อกจ�ำ นวนมาก ดอก สีเหลือง ผลเปน็ ฝกั ขนาดใหญม่ าก ยาวไดถ้ ึง ๒ เมตร รูปขอบขนาน แบนยาว เปลอื กแข็ง คอดเปน็ ข้อ ๆ สเี่ หลีย่ ม แต่ละขอ้ มี ๑ เมล็ด กา้ นผลยาวแข็ง ฝกั แหง้ สนี �ำ้ ตาลถงึ ด�ำ เมล็ดรปู กลมแบน แขง็ สีน�้ำ ตาลเปน็ มนั มีหลายเมล็ด เป็นไมเ้ ลอื้ ยพนั ตามต้นไมใ้ นป่าดิบทกุ ประเภท รมิ ห้วยใน ป่าเบญจพรรณและป่าเขาหนิ ปนู ประโยชน์ : –เมล็ดเป็นยาสมุนไพร ทำ�เคร่อื งประดบั และเป็นอปุ กรณก์ ฬี าพ้นื เมือง –ยอดอ่อน ลวกหรอื นง่ึ ให้สกุ กนิ เปน็ ผกั กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธพ์ุ ชื 231

หาดส้าน (Hat San) พืชใบเล้ยี งคู่ วงศ์ MORACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Artocarpus chama Buch.-Ham. ชอ่ื อน่ื (Vernacular name) : หาดใหญ่ (ท่วั ไป); หาด (ชยั ภมู )ิ ลักษณะทั่วไป : เป็นไม้ต้น ผลดั ใบช่วงส้นั ๆ เปลือกนอกบาง เรยี บหรือแตกเป็นสะเกด็ ล่อนเปน็ วง ตน้ื ๆ สเี ทาคลำ้� เปลอื กในสชี มพู มยี างสีขาวขน้ เป็นเมด็ ๆ ใบเดี่ยว รปู รี รูปไขก่ ลบั แกมรูปขอบขนาน ปลายเปน็ ตงิ่ แหลมหรือทู่ โคนมนเบยี้ วหรอื เวา้ ขอบเรยี บ แผ่นใบหนานุ่มทงั้ สองดา้ น ด้านบนสเี ขียว เขม้ เกล้ยี งเปน็ มนั ยกเวน้ เสน้ ใบมีขน ดา้ นล่างสีเขยี วนวล มีขนสน้ั คลมุ ก้านใบยาว เรยี งเวียน เสน้ ใบ นูนเด่นด้านล่าง ยอดออ่ นสชี มพูอมแดง ชอ่ ดอกออกทซี่ อกใบใกล้ปลายกิง่ ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ผลรวมขนาดเท่าก�ำ ปน้ั รูปทรงกลมหรอื บิดเบ้ยี ว มีขนแขง็ ๆ คลมุ ผิวมปี ุม่ หรือช่องอากาศกระจายท่วั ก้านผลยาว ๓–๑๐ ซม. สุกสีเหลือง เปน็ ไมช้ นั้ กลางถงึ ชน้ั บนในปา่ ดบิ เขาและปา่ ดิบแล้ง ประโยชน์ : –ผลสุกกินได้และเปน็ อาหารของคา่ งแวน่ ถ่นิ เหนือ –เนื้อไม้ใชก้ ่อสรา้ ง หมายเหตุ : ทุกส่วนท่มี ชี วี ิตมีนำ้�ยางสีขาวหรอื สเี หลอื งอ่อน 232 พรรณไม้ป่าดิบเขาภเู ขียว-นำ้�หนาว

กร่าง (Krang) พชื ใบเลีย้ งคู่ วงศ์ MORACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus altissima Blume ชอ่ื พอ้ ง (Synonym) : Ficus laccifera Roxb. ชอื่ อ่นื (Vernacular name) : ไทรทอง (นครศรธี รรมราช); ไฮคำ� (เพชรบูรณ์); ลงุ (เชยี งใหม่, ล�ำ ปาง); ฮาง, ฮา่ งขาว, ฮา่ งหลวง, ฮา่ งเฮือก (เชยี งราย) ช่อื สามญั (Common Name) : Fig Tree ลักษณะทั่วไป : เป็นไมต้ ้นหรอื เกาะตน้ ไม้อน่ื ผลัดใบขนาดใหญ่ แตกกิง่ ตำ่� มีรากอากาศออกตามลำ�ตน้ หรือโคนต้น กิ่งก้านออ่ นมีขนประปราย เมอ่ื แก่เกลยี้ ง เปลือกนอกเรยี บ สีเทาหรอื ขาวหม่น ใบเดีย่ ว รูปรหี รอื รูปไข่ ปลายแหลมหรือทู่ โคนทู่หรอื กลม ขอบเรยี บ แผน่ ใบหนาแข็งคลา้ ยแผน่ หนงั เกล้ยี ง เป็นมันทงั้ สองด้าน ด้านบนสเี ขียวเข้ม ดา้ นล่างสคี รมี กา้ นใบคอ่ นขา้ งยาว เรียงเวยี น เส้นใบนูนออก ด้านล่างและเสน้ ปลายใบโคง้ จรดกนั กอ่ นถึงขอบ มีกาบหุ้มยอดรูปดาบยาว เมอื่ แกห่ ลดุ รว่ ง ชอ่ ดอก ไมม่ กี า้ นรปู รา่ งคลา้ ยผล ดอกแยกเพศออกเป็นค่ทู ี่ซอกใบ ผลแบบมะเดื่อ สุกสีเหลืองส้ม ออกเป็นคู่ ที่ซอกใบ (ส่วนท่เี ป็นเน้ือผลคือฐานรองดอก) ผิวเกล้ยี งค่อนขา้ งแข็ง ภายในมผี ลขนาดเล็ก ๆ จ�ำ นวน มาก เปน็ ไมเ้ รือนยอดชนั้ บนในป่าดบิ ทุกประเภท ในป่าเบญจพรรณและป่าโปร่งประเภทอน่ื ๆ ประโยชน์ : –ผลสกุ เป็นอาหารของชะนีธรรมดา ชะนมี งกฏุ คา่ งแว่นถิ่นเหนือ พญากระรอกดำ� นกเงือกหลายชนิด นกโพระดกหลายชนดิ นกปรอดและนกอน่ื ๆ อีกหลายชนดิ –ยอดอ่อน เป็นอาหารของค่างแวน่ ถ่นิ เหนือ –รากอากาศใช้ท�ำ เชอื ก –ตน้ ใช้เล้ียงครั่ง ข้อควรจ�ำ : พชื ในสกลุ ไทร-ไกร-กรา่ ง-มะเด่อื (Ficus) กอ่ นผลใิ บมักมีกาบหุ้มตารปู ดาบยาว พอผลิ ใบจะหลุดรว่ ง จึงเห็นรอยควนั่ รอบก่ิงเสมอและทุกส่วนทม่ี ชี วี ิตมีน้�ำ ยางสขี าวขน้ พบน้อยท่มี สี ใี ส หมายเหตุ : ไทรชนิดนีเ้ ป็นไทรทีม่ รี ายงานว่ามขี นาดเส้นรอบวงเพยี งอกใหญท่ ส่ี ดุ ในโลก และต้นท่ีสูง ใหญจ่ นพ้นเรอื นยอดไม้อ่นื มกั เปน็ ทีเ่ กาะทำ�รงั ของผง้ึ หลวง กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธ์ุพืช 233

ไทรเขยี ว (Sai Khieo) พชื ใบเล้ยี งคู่ วงศ์ MORACEAE ช่อื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus annulata Blume ชือ่ พ้อง (Synonym) : Ficus flavescens Blume, F. valida Blume ชอ่ื อนื่ (Vernacular name) : ไทร (จันทบุร,ี ตรัง); ไฮ (เลย) ชอื่ สามญั (Common Name) : Fig Tree ลักษณะทั่วไป : เป็นไม้ตน้ ขนาดใหญ่ ผลัดใบช่วงสนั้ ๆ มพี พู อนขนาดใหญ่ มักขึ้นเดย่ี ว ๆ เปลือก นอกบาง เรยี บ สเี ทาขาว ใบเดี่ยว รปู รแี กมรปู ขอบขนาน ปลายแหลมเปน็ ตง่ิ โคนทูห่ รอื แหลม ขอบ เรียบ แผน่ ใบหนาแขง็ เนือ้ เหนยี วคลา้ ยหนัง ฉกี ขาดยาก เกล้ียงเป็นมนั ทง้ั สองด้าน ดา้ นบนสีเขียว เข้ม ด้านล่างสีเขียวนวล กา้ นใบค่อนขา้ งยาว เรยี งเวยี น เสน้ ใบนนู ชดั เจนด้านลา่ ง ใบแกก่ อ่ นรว่ ง สเี หลอื งอมเขยี ว ใบแก่หยาบเหนยี วสีน�ำ้ ตาล ผลรวมขนาดใหญ่แบบมะเดื่อ คอ่ นข้างแข็ง ปลาย นนู เป็นป่มุ มีรขู นาดเลก็ ออกเป็นคู่ท่ีซอกใบใกล้ปลายกง่ิ ผลสกุ สีเขยี วอมเหลอื ง มักมีจุดขนาดเลก็ สคี รีมกระจายท่วั ผิวเกลย้ี งคอ่ นขา้ งแข็ง ก้านผลยาว มักมรี หู นอนและแมลงเจาะไช เป็นไมเ้ รอื นยอด ชั้นบนในปา่ ดบิ เขา ป่าดิบประเภทอื่น และพบไดป้ ระปรายในปา่ ผลดั ใบ ประโยชน์ : ผลสุกเปน็ อาหารของพญากระรอกด�ำ และนกแกก๊ ข้อควรจำ� : พืชในสกุลไทร-ไกร-กรา่ ง-มะเดื่อ (Ficus) ก่อนผลิใบมกั มีกาบหมุ้ ตารปู ดาบยาว พอผลิใบ จะหลุดร่วง จงึ เห็นรอยควัน่ รอบกิง่ เสมอและทกุ สว่ นท่มี ชี ีวิตมนี ้ำ�ยางสขี าวขน้ พบน้อยที่มีสใี ส 234 พรรณไม้ปา่ ดิบเขาภูเขียว-น้�ำ หนาว

เดื่อหวา้ (Duea Wa) พชื ใบเลี้ยงคู่ วงศ์ MORACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus auriculata Lour. ช่อื พอ้ ง (Synonym) : Ficus macrophylla Roxb. & B. H. ex J. E. Sm., F. rotundifolia Roxb., F. macrocarpa Level. et Vant., F. roxburghii Wall ex Miq. ช่ืออน่ื (Vernacular name) : ไทรโพ (กลาง); ตะกื๊อเดาะ (กะเหรย่ี ง–แมฮ่ ่องสอน); เดื่อใบใหญ่ (เหนอื ) ลกั ษณะท่ัวไป : เปน็ ไมต้ น้ ขนาดเลก็ ผลัดใบช่วงสน้ั ๆ ลำ�ต้นอว้ น แตกก่ิงต�ำ่ มรี อยคว่ันคล้าย เปน็ ข้อปลอ้ ง ใบเดี่ยว รูปไข่กวา้ งเกอื บกลม ปลายแหลม โคนตดั มนหรือเวา้ รปู หวั ใจ ขอบเรียบ หรือหยกั หา่ ง ๆ แผน่ ใบหนา ผวิ สาก ด้านบนสีเขยี วเข้มกวา่ ดา้ นลา่ ง กา้ นใบยาวออกตรงโคน หรอื เหนอื โคนใบข้ึนมาเล็กนอ้ ย เรยี งเวยี น ยอดออ่ นสนี �ำ้ ตาลแดง ดอกแยกเพศแบบเปน็ ชอ่ เกิด ภายในฐานรองดอกทีม่ รี ปู ร่างคลา้ ยผล ก้านชชู ่อดอกรวมยาวตามล�ำ ต้น ผลกลมหรอื รี แบบ มะเดือ่ มรี บู ๋มุ ตรงปลาย ออกเปน็ กระจุกตามล�ำ ตน้ ห้อยลง แตล่ ะผลมีสันมนแคบ ๆ และมีขนส้นั ๆ สนี ้ำ�ตาลคลมุ สุกสีน�้ำ ตาลอมแดงหรอื สีมว่ ง พบตามรมิ หว้ ยในปา่ ดบิ เขา ปา่ ดบิ ประเภทอนื่ และ ในปา่ เบญจพรรณใกล้ลำ�ห้วย ประโยชน์ : –ผลสุกรสหวานกินไดห้ รอื แชอ่ ิ่มเปน็ ของหวาน ผลออ่ นหรือผลดบิ กินเป็นผกั สด –ผลและรากเป็นพชื สมนุ ไพร –ยอดออ่ นกินเปน็ ผกั สด ขอ้ ควรจำ� : พชื ในสกุลไทร-ไกร-กรา่ ง-มะเด่ือ (Ficus) ก่อนผลิใบมกั มีกาบหุ้มตารูปดาบยาว พอผลใิ บ จะหลุดรว่ ง จึงเห็นรอยคว่นั รอบก่ิงเสมอและทุกส่วนทม่ี ชี ีวิตมนี �ำ้ ยางสีขาวข้น พบน้อยทม่ี สี ใี ส หมายเหตุ : เป็นมะเดือ่ ทม่ี ผี ลขนาดใหญท่ ่สี ดุ ในประเทศไทย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธุ์พชื 235

นิโครธ (Ni Khrote) พืชใบเล้ียงคู่ วงศ์ MORACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus benghalensis L. ชอ่ื พอ้ ง (Synonym) : Ficus indica L., F. banyana Oken ชื่ออน่ื (Vernacular name) : กรา่ ง (กลาง); อชะปาลนิโครธ (อนิ เดยี ); ไฮ (ตะวันออกเฉยี งเหนือ, ลาว) ชอ่ื สามญั (Common Name) : Fig Tree ลกั ษณะทว่ั ไป : เปน็ ไมต้ น้ ผลัดใบ ขนาดใหญ่หรือข้นึ เกยี่ วพนั ต้นไมอ้ ่ืน เปลือกนอกเรยี บ สเี ทา เปลือก ในสนี �ำ้ ตาลอ่อน ใบเดยี่ ว รปู รีหรอื รูปไข่ ปลายและโคนแหลมหรอื มน ขอบเรยี บ แผน่ ใบหนา มีขนสั้น สีน้ำ�ตาลคลุมบาง ๆ ทั้งสองด้าน โดยเฉพาะตามเส้นใบหนาแนน่ เป็นพเิ ศษ ด้านบนสเี ข้มกวา่ ดา้ นลา่ ง ก้านใบค่อนข้างยาว มขี นสนี ้ำ�ตาลคลมุ หนาแนน่ เรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายก่งิ ใบแกก่ ่อนร่วงสี เหลือง ใบแหง้ สนี �้ำ ตาล เหนียวฉีกขาดยาก ผลรวมแบบมะเดื่อออกทีซ่ อกใบใกลป้ ลายก่งิ กา้ นผล สน้ั มาก ผลสกุ นุ่มสเี หลืองหรือสสี ม้ หรอื สีแดงมขี นสน้ั ๆ คลุม เป็นไม้เรือนยอดชน้ั บนในป่าดิบทกุ ประเภทและปา่ เบญจพรรณ ประโยชน์ : –ผลสกุ เป็นอาหารของชะนธี รรมดา กระเล็นขนปลายหสู น้ั พญากระรอกดำ� กระรอก หลากสี นกกก นกเงือกสนี �ำ้ ตาล นกแก๊ก นกเปลา้ นกโพระดก นกปรอดและกลุ่มไก่ฟ้าอกี หลายชนิด –เปลอื กและยางเปน็ ยาสมุนไพร –ใบเปน็ อาหารของกระซู่ ความสำ�คญั : มีความส�ำ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา ตามพทุ ธประวตั ิบันทึกไวว้ ่าพระพุทธเจา้ ได้ประทบั ใตต้ น้ จ�ำ นวน ๗ วัน ขอ้ ควรจำ� : พชื ในสกุลไทร-ไกร-กร่าง-มะเดื่อ (Ficus) กอ่ นผลใิ บมกั มีกาบหุ้มตารปู ดาบยาว พอผลิใบ จะหลดุ รว่ ง จงึ เห็นรอยควั่นรอบกิ่งเสมอและทุกส่วนทม่ี ชี วี ติ มีน�ำ้ ยางสขี าวข้น พบนอ้ ยท่มี ีสใี ส 236 พรรณไมป้ ่าดบิ เขาภูเขียว-น้ำ�หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 237

ไทรยอดยอ้ ย (Sai Yot Yoi) พชื ใบเล้ียงคู่ วงศ์ MORACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus kurzii King ชอ่ื อื่น (Vernacular name) : ไทรยอ้ ย (กรงุ เทพฯ); ไฮ (ตะวนั ออกเฉียงเหนือ, ลาว) ชือ่ สามัญ (Common name) : Golden Fig ลกั ษณะท่วั ไป : เปน็ ไมต้ ้นหรอื เลอ้ื ยพนั เกาะเบยี นตน้ ไม้อื่น ผลดั ใบชว่ งสน้ั ๆ กงิ่ กา้ นยอ้ ยลลู่ ง เปลอื กนอกบาง เรยี บ สีเทาหรือสีขาว ตามลำ�ตน้ และกิ่งมักมรี ากอากาศหอ้ ยลง ใบเดี่ยว รปู มนรี หรือรปู ไข่ ปลายแหลมยาว โคนมน ขอบเรียบ แผน่ ใบหนา เหนยี วคลา้ ยแผน่ หนัง เกลยี้ งทงั้ สองดา้ น ด้านบนสีเขม้ กวา่ ด้านล่าง กา้ นใบค่อนข้างเรียวยาวโค้งงอ เรยี งสลบั เสน้ ใบขนานกันถี่ ๆ จรด กันกอ่ นถึงขอบใบ ใบอ่อนสีเหลืองอมเขียว ช่อดอกออกเปน็ คู่ที่ซอกใบใกลป้ ลายก่งิ ผลรวมแบบ มะเดอื่ ปลายเป็นรบู ุม๋ ออกเปน็ คหู่ รือเดยี่ ว ๆ ไม่มีก้าน สกุ สเี หลือง สม้ หรือแดง ผิวเกล้ยี งและมี จุดประสขี าวกระจายทั่วผล สกุ สดี ำ� เปน็ ไมเ้ รอื นยอดชั้นกลางถงึ ชน้ั บนในปา่ ดิบท่ัวไปและมักพบ ตามลำ�ห้วยท่ีมีโขดหินและภเู ขาหินปนู ประโยชน์ : –ผลสกุ เปน็ อาหารของชะนธี รรมดา พญากระรอกดำ� กระรอกหลากสี นกเงือกสีน�ำ้ ตาล นกแก๊ก นกเปลา้ นกโพระดก นกปรอด และกลุม่ ไกฟ่ ้าอีกหลายชนิด –ปลูกประดบั เป็นไม้ให้ร่ม –ใบ รากและยางเป็นยาสมุนไพร ขอ้ ควรจ�ำ : พืชในสกลุ ไทร-ไกร-กรา่ ง-มะเดอ่ื (Ficus) ก่อนผลิใบมกั มกี าบหุ้มตารูปดาบยาว พอผลใิ บ จะหลุดร่วง จึงเหน็ รอยควัน่ รอบก่ิงเสมอและทุกส่วนทีม่ ชี วี ติ มนี �้ำ ยางสขี าวข้น พบน้อยท่มี ีสใี ส 238 พรรณไมป้ ่าดบิ เขาภเู ขียว-น้ำ�หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 239

ไทรหิน (Sai Hin) พชื ใบเลยี้ งคู่ วงศ์ MORACEAE ช่ือพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus curtipes Corner ชอื่ พ้อง (Synonym) Ficus obtusifolia Roxb. ชื่ออืน่ (Vernacular name) : ไฮลิน้ หมา, ไฮหลวง (เชียงใหม)่ ; ไฮดาน (หนองคาย) ชอ่ื สามัญ (Common Name) : Fig Tree ลกั ษณะทัว่ ไป : เปน็ ไม้ตน้ ขนาดใหญ่หรอื เกาะเบยี นต้นไมอ้ ่นื ผลดั ใบ แตกกง่ิ ต�่ำ มีรากอากาศยอ้ ยลง จนคลา้ ย ๆ เป็นหลายลำ�ตน้ เปลือกนอกหนา เรียบ สอี มน�ำ้ ตาล ใบเดีย่ ว รูปไข่กลบั ปลายมน โคน สอบแคบ ขอบเรยี บ แผน่ ใบหนาเหนียวแขง็ เกลยี้ งเป็นมันท้ังสองดา้ น ด้านบนสีเขยี วเข้ม ด้านลา่ ง สีเขยี วนวล ก้านใบแข็ง เรียงเวยี นเป็นกระจุกท่ปี ลายกง่ิ เสน้ กลางใบกว้างนูนออกดา้ นลา่ ง เสน้ ใบโค้งจรดกันกอ่ นถงึ ขอบ ดอกแยกเพศเกดิ ภายในฐานรองดอกทม่ี ีรปู รา่ งคลา้ ยผล ผลกลมหรอื รี แบบมะเด่อื มรี ูบมุ๋ ตรงปลาย ออกเดย่ี ว ๆ หรือเป็นคู่ ท่ีซอกใบใกล้ปลายกิง่ ผลเกล้ยี งมีจุดประสี ครมี กระจาย กลบี รองผลแขง็ ไมม่ ีกา้ น สุกสนี �้ำ ตาลอมแดงหรอื สีเหลือง พบตามรมิ ห้วยในปา่ ดิบเขา ป่าดบิ ประเภทอื่นและปา่ เบญจพรรณ ประโยชน์ : ผลสกุ เปน็ อาหารของนกกนิ ผลไม้และสตั ว์ป่าหลายชนิด ขอ้ ควรจำ� : พชื ในสกุลไทร-ไกร-กร่าง-มะเดื่อ (Ficus) กอ่ นผลใิ บมกั มกี าบหุ้มตารูปดาบยาว พอผลใิ บ จะหลุดรว่ ง จงึ เห็นรอยควน่ั รอบกงิ่ เสมอและทกุ สว่ นท่มี ีชวี ติ มนี ้ำ�ยางสขี าวข้น พบน้อยทม่ี สี ใี ส 240 พรรณไม้ปา่ ดบิ เขาภเู ขียว-น้ำ�หนาว



เดื่อขนดก (Duea Khon Dok) พชื ใบเลี้ยงคู่ วงศ์ MORACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus triloba Buch. - Ham. ex Voigt subsp. triloba ช่ือพ้อง (Synonym) : Ficus hirsuta Roxb. ชื่ออื่น (Vernacular name) : เด่อื หอมเลก็ , เดอื่ หอมใหญ่ (ตราด); นอดหอม, มะเดื่อเต้ยี (จันทบรุ )ี ; มะเดอื่ ขน (นครราชสีมา), นมหมา (นครพนม); นอดน�้ำ (ล�ำ ปาง); เยอ่ื ทง (เย้า–เชียงราย); หาด (เชยี งใหม่); เดื่อขน (เหนอื ) ลักษณะทั่วไป : เป็นไมต้ ้นขนาดเลก็ ผลัดใบ กงิ่ อ่อนกลวงเป็นขอ้ ปลอ้ ง มีขนยาวสนี �้ำ ตาลออ่ นคลุม หนาแนน่ ใบเด่ยี ว รปู กลมกวา้ ง รูปไขก่ ว้างหรือรูปหกเหล่ียมขนาดใหญ่ ปลายแหลม โคนเว้าลกึ ขอบหยกั เว้าตืน้ ๆ หลายพู แผ่นใบหนา สาก มีขนส้ันสนี �้ำ ตาลคลมุ หนาแน่นทัง้ ๒ ด้าน ด้านบนสเี ขยี ว เขม้ ดา้ นลา่ งสอี ่อนกว่า ก้านใบยาว มขี นสนี �ำ้ ตาลคลุม เรยี งเวยี น เส้นใบแยกออกจากเส้นกลางใบ ตรงโคนใบขา้ งละ ๒ เสน้ ผลกลมแบบมะเด่ือ ปลายปดู นูนเปน็ รบู ุ๋มตรงกลาง มขี นยาวสนี �ำ้ ตาลคลมุ หนาแนน่ ออกเป็นกระจุกปลายกิ่ง สกุ สแี ดง พบขึน้ ตามพื้นท่ีเปิดโลง่ ในปา่ ดบิ เขา ประโยชน์ : –เปน็ พืชสมุนไพร –เปลือกลอกท�ำ เชอื ก ขอ้ ควรจำ� : พชื ในสกลุ ไทร-ไกร-กร่าง-มะเด่ือ (Ficus) ก่อนผลใิ บมกั มีกาบหมุ้ ตารูปดาบยาว พอผลใิ บ จะหลดุ รว่ ง จึงเห็นรอยควนั่ รอบก่งิ เสมอและทกุ ส่วนทม่ี ีชีวิตมนี ้ำ�ยางสขี าวข้น พบนอ้ ยทม่ี สี ีใส 242 พรรณไม้ป่าดบิ เขาภเู ขยี ว-น�ำ้ หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 243

มะเดื่อหอม (Ma Duea Hom) พืชใบเลี้ยงคู่ วงศ์ MORACEAE ชอื่ พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus hirsuta Vahl ชื่อพอ้ ง (Synonym) : Ficus hirsuta var. tribora, F. quangtriensis Gagnep., F. roxburghii Miq., F. tribora Buch.-Ham. ex Voigt ชือ่ อืน่ (Vernacular name) : เดื่อหอมเลก็ , เดอื่ หอมใหญ่ (ตราด); นอดหอม, มะเดื่อเตีย้ (จนั ทบรุ )ี ; มะเดอ่ื ขน (นครราชสีมา); นมหมา (นครพนม); นอดน�ำ้ (ล�ำ ปาง); เย่ือทง (เย้า–เชยี งราย); หาด (เชียงใหม)่ ; เดอื่ ขน (เหนอื ) ลักษณะทั่วไป : เป็นไมพ้ ุม่ ขนาดเลก็ ผลดั ใบ กิง่ ก้านมักกลวงเป็นข้อปล้อง ตน้ ทีม่ อี ายุน้อยมีขนยาว สนี ำ้�ตาลออ่ นคลุมทั้งต้น ใบเด่ียว รูปขอบขนานหรือใบหยกั เว้าลึกเป็น ๓ แฉก ปลายแหลม โคนเว้า ต้นื ๆ และมักเบยี้ วเป็นรูปใบหู (ใบมีความแปรผันมาก) ขอบจกั ฟันเล่ือยถี่ แผ่นใบมขี นสากคายคลุม ท้ังสองดา้ นโดยเฉพาะตามเสน้ ใบจะมีมาก ดา้ นบนสเี ขียวเข้ม ดา้ นล่างสอี ่อนกว่า โคนใบมีเส้นใบแยก ออกจากเสน้ กลางใบข้างละเสน้ ก้านใบยาว มขี นสนี �ำ้ ตาลคลมุ เรียงเวียน ผลกลมแบบมะเด่อื ปลาย เปน็ รูบมุ๋ มขี นสั้นคลุมหนาแน่น ออกเดี่ยว ๆ หรอื เปน็ คทู่ ซ่ี อกใบ สุกสีแดงสด เป็นไมช้ ั้นลา่ งใน ปา่ ดิบเขาท่ีคอ่ นขา้ งโปรง่ ปา่ ดบิ ท่วั ไปและป่าก�ำ ลังทดแทน ประโยชน์ : –ผลออ่ นและผลดบิ กนิ เป็นผกั สด –เปน็ พชื สมุนไพร ข้อควรจำ� : พืชในสกุลไทร-ไกร-กร่าง-มะเดื่อ (Ficus) ก่อนผลิใบมกั มกี าบหุม้ ตารปู ดาบยาว พอผลใิ บ จะหลดุ ร่วง จึงเห็นรอยควั่นรอบกิง่ เสมอและทกุ ส่วนที่มีชีวติ มีน้ำ�ยางสีขาวข้น พบน้อยทีม่ สี ีใส 244 พรรณไม้ป่าดิบเขาภเู ขยี ว-นำ�้ หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 245

มะเดอื่ ปล้อง (Ma Duea Plong) พืชใบเลีย้ งคู่ วงศ์ MORACEAE ช่ือพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus hispida L. f. ชอ่ื พ้อง (Synonym) : Ficus mollis Willd., F. oppositifolia Willd., F. poilanei Gagnep, F. scabra Jacqu. ช่ืออืน่ (Vernacular name) : เดื่อป่อง (กรุงเทพฯ); เดื่อปล้อง (สระบุรี, เหนือ, นครศรธี รรมราช); เด่ือสาย (เชยี งใหม่); ตะเออนา่ , เอาแหน่ (กะเหรย่ี ง–แม่ฮอ่ งสอน); ฮะกอ สะนียา (มาเลเซยี –นราธวิ าส) ลักษณะทัว่ ไป : เป็นไมต้ ้นขนาดเล็ก ผลัดใบ กง่ิ ออ่ นกลวงเปน็ ข้อปล้อง มีขนสากคายคลมุ ท่ัวไป เปลอื ก นอกเรียบและล�ำ ตน้ มีรอยควัน่ คล้ายข้อ ใบเด่ียว รูปรแี กมรูปขอบขนาน ปลายเป็นติ่งเรยี วแหลม โคนสอบ ขอบเรยี บหรือจักฟนั เลอ่ื ย แผน่ ใบหนา สากคายทัง้ สองดา้ น ดา้ นบนสเี ข้ม ดา้ นลา่ งสีอ่อนกวา่ กา้ นใบยาว เรยี งตรงข้ามสลับต้งั ฉากหรือเยื้อง เส้นใบนนู ออกดา้ นลา่ งมีขนสั้นคลุมหนาแนน่ ดอกแยกเพศขนาดเล็กอย่ใู นชอ่ ดอกทม่ี รี ปู ร่างคล้ายผลอยตู่ า่ งช่อกนั ออกตามกง่ิ และลำ�ตน้ หรือ บางทอี อกทโ่ี คนต้น ผลกลมแบบมะเดอ่ื ปลายบุ๋มเปน็ รู มสี นั ทู่ ๆ ตามความยาว สกุ สเี หลืองออ่ นถงึ สนี �ำ้ ตาล พบทว่ั ไปในป่าดิบทุกประเภท ปา่ ผลดั ใบ ไรร่ ้าง โดยเฉพาะพ้ืนทีท่ ่มี คี วามชมุ่ ชื้นสงู ประโยชน์ : –ผลออ่ นและใบอ่อนกนิ เป็นผกั สด –ผลสกุ เปน็ อาหารของชะมด อเี หน็ –เปลือกใชท้ ำ�เชือกและใช้ใบขดู เมอื กปลาไหล –ใบ ราก ล�ำ ต้นและเหง้า เปน็ ยาสมนุ ไพร –รากและใบเปน็ อาหารของชา้ งและกระทิง ขอ้ ควรจำ� : พืชในสกลุ ไทร-ไกร-กรา่ ง-มะเด่อื (Ficus) กอ่ นผลใิ บมกั มกี าบหมุ้ ตารูปดาบยาว พอผลใิ บ จะหลุดร่วง จึงเห็นรอยควัน่ รอบกง่ิ เสมอและทุกส่วนท่ีมชี ีวิตมนี ้ำ�ยางสขี าวข้น พบนอ้ ยทม่ี ีสีใส 246 พรรณไมป้ ่าดบิ เขาภูเขียว-นำ้�หนาว

ไทรยอ้ ยใบทู่ (Sai Yoi Bai Thu) พชื ใบเล้ียงคู่ วงศ์ MORACEAE ช่อื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ficus microcarpa L. f. ชอื่ พ้อง (Synonym) : F. retusa auct. non L., F. indica Heyne ex Roth, F. rubra Roth, F. littoralis Blume, F. nitida Thunb., F. retusiformis Levl. et Vant., Urostigma micro- carpum (L. f.) Miq., ชื่ออื่น (Vernacular name) : ไทรเขา (นครศรธี รรมราช); ไทรย้อย (สุราษฎร์ธานี); ไทรหนิ (ชุมพร); ไทรขีน้ ก (นราธิวาส); ไทรระโยง (นครราชสมี า); ไทรย้อยใบแหลม (กลาง); ไฮอี (เพชรบูรณ์) ลกั ษณะท่วั ไป : เปน็ ไม้ตน้ หรอื ไมเ้ ลอื้ ยพันตน้ ไม้อน่ื ผลัดใบชว่ งสนั้ ๆ เปลือกนอกเรียบ สนี �ำ้ ตาลอม เทา มีรากอากาศย้อยลงตามตน้ และก่งิ จำ�นวนมาก ใบเดีย่ ว รปู รี ปลายแหลม โคนมน ขอบเรยี บหรอื เปน็ คล่ืน แผน่ ใบหนา เหนียว เกลยี้ งเป็นมนั ท้ังสองด้าน ดา้ นบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีครีม เสน้ ใบ เลือนราง ก้านใบสั้น เรยี งสลบั ผลรวมแบบมะเดื่อ ปลายผลมรี ูบมุ๋ ขนาดเลก็ ก้านผลสน้ั มากหรือไม่มี ออกทซ่ี อกใบใกล้ปลายกงิ่ ผลสุกสขี าว สกุ สมี ่วงดำ� พบท่ัวไปในป่าดบิ และปา่ เบญจพรรณ ประโยชน์ : –ผลสกุ เปน็ อาหารของนกกนิ ผลไมแ้ ละกระรอกหลายชนิด –ปลูกเป็นไมป้ ระดบั ใหร้ ม่ ข้อควรจำ� : พชื ในสกุลไทร-ไกร-กรา่ ง-มะเดอื่ (Ficus) กอ่ นผลใิ บมกั มกี าบหุ้มตารูปดาบยาว พอผลใิ บ จะหลุดร่วง จงึ เห็นรอยควน่ั รอบกงิ่ เสมอและทกุ สว่ นท่ีมีชวี ติ มีน้ำ�ยางสีขาวขน้ พบน้อยทม่ี ีสใี ส กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธ์ุพืช 247

แกแล (Kae Lae) พืชใบเล้ยี งคู่ วงศ์ MORACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner ช่อื พ้อง (Synonym) : Cudrania cambodiana Gagnep., C. cochinchinensis (Lour.) Kudo et Masumune, C. javanensis Trec., Vanieria cochinchinensis Lour. ช่อื อน่ื (Vernacular name) : นำ้�เคยี่ วโซ่ (ปัตตานี); หนามเข (ประจวบครี ขี ันธ์); แกล, แหร (ใต)้ ; สักขี, เหลือง (กลาง); เข (นครราชสมี า); ช้างงาตอ๊ ก (ล�ำ ปาง); แกก้อง (แพร่) ลักษณะทั่วไป : เป็นไม้พ่มุ รอเล้อื ยหรอื ไมเ้ ถาเนอ้ื แขง็ ล�ำ ต้น กิง่ และซอกใบมหี นามแหลมยาวแขง็ ขนาดใหญ่ ปลายแหลมหรอื โค้งงอเล็กน้อย ใบเด่ียว รปู รหี รอื รปู ใบหอกกลบั ปลายแหลมหรอื มน โคน สอบแคบ ขอบเรียบ แผน่ ใบหนา เกลี้ยงเป็นมนั ทง้ั สองดา้ น ด้านบนสเี ขยี วเขม้ ด้านล่างสีขาวหม่น หใู บขนาดเล็กมากและหลุดรว่ งงา่ ย กา้ นใบสนั้ เรียงสลับ ดอกแยกเพศอยู่ตา่ งต้น ดอกสีขาวนวล หรือขาวอมเหลอื ง ขนาดเล็ก ออกรวมกันเปน็ กระจุกรูปกลมทีซ่ อกใบใกลป้ ลายกง่ิ ผลรวมทรงกลม ผิวขรขุ ระ มีเมล็ดขนาดเลก็ จำ�นวนมาก สกุ สเี หลือง เปน็ ไม้พื้นล่างและพาดพนั ในปา่ ดบิ เขา ปา่ ดบิ ประเภทอื่นและป่าเบญจพรรณ ประโยชน์ : –ผลสุกเปน็ อาหารของชะนมี อื ขาว นกแกก๊ นกขนุ ทองและนกเปล้าธรรมดา –แกน่ เปน็ ยาสมนุ ไพร เนอื้ ไมใ้ ห้สีเหลืองและสีเลือดนกใช้ยอ้ มผา้ –ใบเป็นอาหารของช้างป่า ความสำ�คญั : ไม้หวงห้ามประเภท ก ข้อควรจำ� : ทกุ สว่ นท่ีมชี ีวิตมนี ำ้�ยางสีขาวข้นหรอื สีเหลืองอ่อน 248 พรรณไม้ปา่ ดิบเขาภเู ขยี ว-น�ำ้ หนาว



250 พรรณไมป้ า่ ดบิ เขาภเู ขยี ว-นำ�้ หนาว

ผู้ถา่ ย วนัท-เวทิต พมุ่ พวง มะพร้าวนกกก (Ma Phrao Nok Kok) พชื ใบเลย้ี งคู่ วงศ์ MYRISTICACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Horsfieldia amygdalina (Wall.) Warb. var. amygdalina ชอื่ อน่ื (Vernacular name) : เลือดนก (หนองคาย); หมากนก (ตราด); หนั เถอ่ื น (นครศรีธรรมราช) ลักษณะท่วั ไป : เป็นไมต้ น้ ไมผ่ ลดั ใบ เรอื นยอดโปรง่ ล�ำ ต้นเปลาตรง กิง่ มกั ต้งั ฉากกับลำ�ต้น กง่ิ ก้าน อ่อนมชี อ่ งอากาศสคี รีม เปลือกนอกสนี ำ้�ตาลอมเทา เรยี บหรือแตกเปน็ รอ่ งต้ืน ๆ เปลอื กในมีน�ำ้ เมอื ก สีชมพู ใบเดี่ยว รูปขอบขนานยาว ปลายแหลม โคนมน ขอบเรียบหรอื เป็นคล่นื แผ่นใบหนา เหนยี ว เกลย้ี งเป็นมันท้ังสองดา้ นและมีจุดขนาดเล็กกระจายทัว่ ดา้ นบนสเี ขียวเข้มเป็นมนั เงา ดา้ นล่างสีเขยี ว นวล ก้านใบสั้น อวบนำ�้ เรียงสลับ ดอกแยกเพศอย่ตู า่ งตน้ สเี หลอื ง ออกตามก่งิ และทซี่ อกใบ ผลสด รปู ทรงกลมรี มรี อยตะเขบ็ ตามความยาวทัง้ ๒ ด้าน ผิวผลเกลย้ี งคล้ายแผ่นหนัง สุกสีเหลือง เมื่อแก่ เปลือกปลายผลปริแตกออก เยอื่ หุ้มเมลด็ เรียบ ฉำ่�นำ้� สแี ดงสด ปลายหยัก เปน็ รว้ิ หรือมว้ นงอ เมลด็ แข็งเกลีย้ ง มเี มล็ดเดียว พบเปน็ ไม้เรือนยอดชน้ั กลางในป่าดิบเขา ป่าดิบชน้ื ระดบั สงู ป่าดิบแล้งและ ป่าเบญจพรรณชื้น ประโยชน์ : ผลสกุ เปน็ อาหารของนกเงือกหลายชนดิ และกระรอก ขอ้ ควรจ�ำ : หากเปลือกเกิดบาดแผลจะมนี ำ้�ยางสชี มพูหรอื สีแดงไหลซมึ ออก ผลของพชื ในสกุลน้เี นื้อผลบรเิ วณปลายห้มุ เมลด็ มักจะหยกั เป็นรวิ้ ๆ หรือม้วนพับส้นั ๆ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพันธุพ์ ืช 251

เลือดควาย (Lueat Khwai) พืชใบเลี้ยงคู่ วงศ์ MYRISTICACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Knema erratica (Hook. f. & Thomson) Sinclair ชอ่ื พอ้ ง (Synonym) : Knema siamensis Warb., K. yunnanensis H. H. Hu, Myristica erratica Hook. f. & Thomson, M. longifolia Wall. ex Blume var. erratica (Hook. f. & Thom- son) Hook.f. & Thomson ช่อื อ่ืน (Vernacular name) : หนั ช้าง (เหนอื ) ลกั ษณะทวั่ ไป : เปน็ ไมต้ ้นไม่ผลัดใบ ลำ�ตน้ เปลาตรง เรอื นยอดรปู กรวยคว�่ำ กง่ิ ตงั้ ฉากกบั ล�ำ ต้น กงิ่ ออ่ นและยอดออ่ นมขี นสน้ั รูปดาวสีน้ำ�ตาลคลุมหนาแน่น เม่ือแกข่ นเหลอื นอ้ ย เปลอื กนอกสี นำ้�ตาลอมเทา เรยี บหรอื แตกล่อนเป็นแผ่น ๆ ใบเด่ยี ว รปู ขอบขนานยาว ปลายแหลม โคนมน หรอื แหลม ขอบเรยี บ แผน่ ใบหนา เหนียวคล้ายแผน่ หนงั ด้านบนเกล้ยี งสีเขยี วเขม้ ดา้ นล่างสี เขยี วนวลหรอื สขี าวอมน�้ำ ตาล กา้ นใบส้ันเป็นรอ่ ง มเี กลด็ สนี �้ำ ตาลคลมุ เรยี งสลับ ดอกแยกเพศ อยูต่ า่ งตน้ สีเหลอื งอมชมพู ออกตามก่งิ และที่ซอกใบ เปน็ คหู่ รอื เดย่ี ว ผลสดรปู ทรงกลมรี มีรอย ตะเข็บตามความยาวผลท้งั ๒ ดา้ น ผลออ่ นมกั มขี นสนั้ สนี ำ้�ตาลคลุมหนาแนน่ สุกสเี หลอื ง ผิว เกลีย้ ง เม่อื แก่เปลอื กปริแตกออก มเี ยือ่ หุ้มเมล็ดเปน็ ร้ิว ฉ�่ำ น�้ำ สแี ดงสดและหยักเฉพาะส่วนปลาย เมลด็ แขง็ เกล้ียง มเี มล็ดเดยี ว พบทั่วไปในปา่ ดบิ ทุกประเภทและริมหว้ ยของปา่ เบญจพรรณ ประโยชน์ : –ผลสุก เป็นอาหารของนกเงือกหลายชนิด –ทั้งตน้ เป็นพชื สมุนไพร ความส�ำ คญั : ไมห้ วงหา้ มประเภท ก ข้อควรจ�ำ : หากเปลอื กเกดิ บาดแผล จะมีน�้ำ ยางเหนยี วสชี มพูถงึ แดงไหลซึม 252 พรรณไม้ป่าดิบเขาภูเขยี ว-นำ�้ หนาว

เลือดแรด (Lueat Raet) พชื ใบเล้ียงคู่ วงศ์ MYRISTICACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Knema globularia (Lam.) Warb. ชื่อพ้อง (Synonym) : Knema corticosa Lour., K. missionis (King) Warb., K. sphaerula Airy Shaw, Myristica globularia Lam., M. corticosa (Lour.) Hook. f. & Thomson, M. sphaerula Hook. f. ชอ่ื อ่ืน (Vernacular name) : กระฮนั้ (สะตูล); กาฮั้น (ชมุ พร); ลาหัน (สงขลา); เลือดม้า (นครศรธี รรมราช); ตูโมะยอ (มลาย–ู นราธิวาส); หัน, หนั ลัด (ใต)้ ; ชิงชอง (ระยอง); สซี วง (ฉะเชิงเทรา); ตนี ตัง (อุดรธาน)ี ; มะเลอื ด (นครพนม, อดุ รธานี); กระเบาเลอื ด (พิษณุโลก); สมิงค�ำ ราม (พจิ ิตร, พษิ ณโุ ลก); เหมอื ดคน (พิจติ ร) ลกั ษณะท่ัวไป : เปน็ ไมต้ น้ ไมผ่ ลดั ใบ เรอื นยอดรปู กรวยคว่ำ� กง่ิ มกั ตั้งฉากกับล�ำ ตน้ ก่ิงอ่อนใบออ่ นมี ขนสนั้ สีน�ำ้ ตาลคลมุ เมือ่ แก่เกล้ียงหรอื มีขนเหลือน้อย เปลอื กนอกสนี ้ำ�ตาลอมเทาเรียบหรอื แตกเป็น สะเกด็ ใบเดยี่ ว รูปขอบขนานยาว ปลายแหลม โคนมน ขอบเรยี บ แผ่นใบหนา ดา้ นบนเกล้ยี งสเี ขยี ว เข้ม ด้านล่างสขี าวนวล มขี นสน้ั สนี ำ้�ตาลคลุม ก้านใบส้ัน เรยี งสลบั มขี นสีน�ำ้ ตาลคลมุ ดอกแยกเพศ อยตู่ า่ งตน้ ขนาดเลก็ ออกเป็นกระจกุ ตามกิ่งและทซี่ อกใบ ดอกตูมรูปไขก่ ลบั มี ๓ กลบี สชี มพอู ่อนมี กล่ินหอมออ่ น ๆ ผลสดรปู ทรงกลมหรือรี มีสนั ทู่ ๆ ตามความยาวผล ผลอ่อนมกั มขี นสนั้ ๆ สีนำ้�ตาล คลมุ สกุ สีเหลอื งสม้ เมอ่ื แกเ่ ปลือกปรแิ ตกออกเป็น ๒ ซกี เยอ่ื หมุ้ เมลด็ เปน็ ร้วิ ฉำ่�น�้ำ สแี ดงสดและ หยักเฉพาะตรงปลาย เมลด็ แขง็ เกลยี้ ง มเี มลด็ เดียว พบในปา่ ดิบทุกประเภท ประโยชน์ : –ผลสกุ เป็นอาหารของชะนีมอื ขาวและนกเงอื กหลายชนิด –ไม้ใช้กอ่ สรา้ งภายใน –เมลด็ เป็นยาสมุนไพร ข้อควรจ�ำ : หากเปลือกเกดิ บาดแผล จะมนี ้ำ�ยางเหนียวสชี มพถู ึงแดงไหลซึม ข้อควรสงั เกต : คลา้ ยเลือดควาย (Knema erratica) แต่เลือดควายมขี นาดใบและผลใหญ่กว่าอย่าง เดน่ ชัด กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์ุพชื 253

มะจำ้�กอ้ ง (Ma Cham Kong) พชื ใบเลีย้ งคู่ วงศ์ MYRSINACEAE (PRIMULACEAE) ชอื่ พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ardisia sanguinolenta Blume var. sanguinolenta ชือ่ พ้อง (Synonym) : Ardisia andamanica auct. non Kurz, A. complanata Wall., A. eglandulosa Fletch., A. anceps Wall. ชือ่ อื่น (Vernacular name) : กระดกู ไก่, ก้างปลา, ก้างปลาเขา (ตะวนั ออกเฉยี งใต้); เหมอื ด (เลย); อ้ายรามใบใหญ่, ตาเปด็ ตาไก่ (ใต้) ลักษณะทัว่ ไป : เปน็ ไมพ้ ่มุ หรือไมต้ น้ ขนาดเล็กไมผ่ ลดั ใบ แตกกง่ิ ตำ่� เปลอื กนอกบาง เรียบ สนี �้ำ ตาลเทา ใบเดย่ี ว รูปขอบขนานแกมรปู ใบหอก ปลายแหลม โคนสอบแคบ ขอบเรียบหรอื เป็นคล่นื เล็กนอ้ ย แผน่ ใบ หนา อวบนำ้� เกลี้ยงเปน็ มันทัง้ สองดา้ น ดา้ นบนสเี ขม้ กว่าด้านล่างและมจี ดุ หรือจุดสนี �้ำ ตาลเล็ก ๆ กระจายทว่ั กา้ นใบอวบน�้ำ เรียงสลบั เส้นใบเรยี งขนานกัน ยอดออ่ นมีคราบหรอื เกล็ดสนี ำ้�ตาลคลุม ชอ่ ดอก แบบแยกแขนง รูปกรวยคว่ำ� ออกปลายกิ่ง กา้ นชอ่ ดอกและชอ่ ผลสแี ดงหรอื ชมพู ดอกสีชมพถู งึ สีชมพู อมขาว ผลกลม ขนาดเลก็ สกุ สมี ว่ งด�ำ พบตามพื้นทคี่ อ่ นข้างชน้ื ป่าดบิ ก่งึ พรหุ รอื รมิ ห้วยในป่าดบิ ทุก ประเภท ประโยชน์ : ตน้ ผลและรากเป็นยาสมุนไพร หมายเหตุ : บางต�ำ ราจดั เปน็ ชนดิ เดียวกนั กับกาลงั กาสาตวั ผู้ (Ardisia eglandulosa) 254 พรรณไมป้ า่ ดบิ เขาภเู ขียว-นำ�้ หนาว

ผ้ถู า่ ย วฒุ นิ นั ท์ พวงสาย กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธุ์พชื 255

(ตTาaไกK่ใบaiกBวaา้ iงKwang) พืชใบเล้ียงคู่ วงศ์ MYRSINACEAE (PRIMULACEAE) ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ardisia crenata Sims var. crenata ชื่อพอ้ ง (Synonym) : Ardisia crenata Roxb., A. crispa A. DC., Bladhia crispa Thunb. ช่ืออ่นื (Vernacular name) : ประดงนกกด (สโุ ขทัย); ก้างปลาดง, ตับปลา, ลงั กาสา (ตราด); ตา เปด็ หิน (ชุมพร); ตีนจ�ำ โคก (เลย); จ้�ำ เครือ (ท่วั ไป) ลักษณะท่ัวไป : เป็นไม้พมุ่ เตีย้ ขนาดเลก็ สงู ๑–๒ ม. ก่งิ ก้านออ่ นเกลยี้ งหรอื มคี ราบสสี นิมคลุม เปลือก นอกเรยี บ สีนำ้�ตาล ใบเดยี่ ว รปู รแี กมรปู ขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ปลายแหลมหรอื ทู่ โคนสอบ ขอบหยักมนตน้ื ๆ แผ่นใบหนากรอบเกลย้ี งเปน็ มนั มีจดุ สนี ำ้�ตาลกระจายทว่ั แผ่น ด้านบนสเี ขยี วเขม้ ด้านล่างสีน�ำ้ ตาลออ่ นมีเกล็ดสีสนมิ ประปราย ก้านใบสนั้ เรียงเวียนเปน็ กระจกุ ท่ปี ลายก่ิง ชอ่ ดอก ออกเป็นชอ่ กงึ่ ซีร่ ม่ ทซ่ี อกใบหรือปลายกงิ่ ออกเด่ียว ๆ หรือเป็นช่อ ๆ ละหลายดอก กา้ นช่อดอกยาว หอ้ ยลง ส่วนก้านดอกส้นั กลบี ดอกสีขาว สีชมพหู รอื สีม่วง มจี ดุ ประสีคล้ำ�กระจายทวั่ กลบี ผลรปู คอ่ นขา้ งกลม ขนาดเล็ก เกล้ยี ง ปลายมรี อยบุ๋มและมตี ่งิ เล็ก ๆ สุกสแี ดง มจี ุดสนี �ำ้ ตาลกระจายทัว่ ผล มเี มล็ดเดยี ว เป็นไมพ้ ้นื ลา่ งของป่าดิบเขา และชายปา่ ดิบเขากับทุ่งหญา้ หรือปา่ ทุง่ และพบไดใ้ นป่าดบิ ประเภทอื่น ประโยชน์ : –ผลสกุ รสหวานกินไดแ้ ละเป็นอาหารนกกนิ ผลไมห้ ลายชนิด –ดอกและรูปทรงสวยเหมาะปลูกเป็นไม้ประดับ –ทงั้ ตน้ เปน็ ยาสมุนไพร 256 พรรณไมป้ ่าดิบเขาภเู ขยี ว-น้ำ�หนาว

ก(KาaลังLกaาnสgาKตaวั ผSู้ a Tua Phu) พชื ใบเลย้ี งคู่ วงศ์ MYRSINACEAE (PRIMULACEAE) ช่ือพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ardisia eglandulosa H. R. Fletcher ชือ่ อ่นื (Vernacular name) : จีผาแตก (ลพบรุ ี) ลักษณะทวั่ ไป : เป็นไม้พุ่มหรือไมย้ ืนตน้ ขนาดเล็กไม่ผลัดใบ กิ่งก้านกลมมขี นประปรายสีเทาขาว ล�ำ ต้นมกั มีปุม่ ปมเล็ก ๆ เปลือกนอกบาง เรียบหรอื ขรขุ ระสนี ้ำ�ตาลหรือสีเทา ใบเด่ียว รปู รีหรือรูปขอบ ขนานแกมรูปใบหอก ปลายแหลมหรือมน โคนสอบแคบ ขอบเรยี บหรือเป็นคลื่น แผ่นใบเกลี้ยงทงั้ สองด้านมีจุดสนี ำ้�ตาลกระจายจ�ำ นวนมาก ดา้ นบนสีเขม้ ด้านล่างมคี ราบสสี นิม กา้ นใบส้นั เรียงสลบั เสน้ กลางใบนนู เดน่ ออกดา้ นล่างชดั เจน ชอ่ ดอกแบบกงึ่ ชอ่ ซ่ีร่ม แตกออกเดยี่ ว ๆ หรือเปน็ กระจุกที่ ซอกใบใกล้ปลายกง่ิ กลบี ดอกสีชมพู มจี ดุ สีน�ำ้ ตาลหา่ ง ๆ โคนติดกัน ปลายแยกเป็นกลบี รปู ไข่ ผล ค่อนข้างกลมแปน้ หรือมีหลายสนั ขนาดเลก็ สกุ สมี ่วงดำ� เปน็ ไม้ช้นั ลา่ งในป่าดิบเขา ปา่ ดิบชื้นระดับสูง และป่าดบิ เขากึง่ พรุ ประโยชน์ : –ผลสกุ เป็นอาหารของนกแกก๊ นกปรอดเหลอื งหัวจกุ นกปรอดโอง่ เมอื งเหนอื และนก ปรอดเลก็ ตาขาว –ผลสกุ กินไดร้ สหวาน ความสำ�คญั : พชื เฉพาะถ่นิ หมายเหตุ : พบครั้งแรกท่เี ขาแหลม จงั หวดั นครราชสมี า บางต�ำ ราจัดเปน็ ชนิดเดียวกนั กบั มะจ�ำ้ กอ้ ง (Ardisia colorata) กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 257

กา้ งปลาดง (Kang Pla Dong) พชื ใบเลย้ี งคู่ วงศ์ MYRSINACEAE (PRIMULACEAE) ช่อื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Ardisia crenata Sims var. angusta C. B. Clarke ชือ่ อืน่ (Vernacular name) : ตับปลา (เชยี งใหม)่ ; ตาไก่ (สุราษฎร์ธานี); ตาเป็ดตาไก่ (นครศรธี รรมราช); ตาหนิ เปด็ (ชมุ พร); ตีนจำ�โคก (เลย); มาตาอาแย (มาเล-ยะลา); ลงั กาสา (เชียงใหม่); ลงั กาสาขาว (ตราด) ชื่อสามัญ (Common Name) : Hen’s eyes, Hilo holly. ลกั ษณะท่วั ไป : เปน็ ไมพ้ มุ่ เต้ยี ขนาดเล็กสงู ๐.๕–๑ ม. ก่ิงอ่อนมีคราบสีสนิมคลมุ เปลือกนอกสี น�ำ้ ตาล ใบเด่ียว รปู รีแกมรูปใบหอก ปลายแหลม โคนสอบ ขอบหยกั มนตืน้ ๆ ใบเกล้ยี งเปน็ มัน มีจดุ สี น�้ำ ตาลกระจายทวั่ แผ่นใบ ดา้ นบนสเี ขม้ กวา่ ด้านล่าง ก้านใบสน้ั เรยี งเวยี นเป็นกระจุกที่ปลายก่งิ ดอก ออกเปน็ ช่อกงึ่ ซ่ีร่ม ที่ซอกใบหรอื ปลายกงิ่ ชอ่ ละหลาย ๆ ดอก ก้านชอ่ ดอกยาวหอ้ ยลง สว่ นก้านดอก สั้น กลบี ดอกสชี มพู มีจดุ ประสีคล้ำ�กระจายท่ัวกลบี ดอก ผลค่อนขา้ งกลม ขนาดเลก็ เกลยี้ ง ปลายผล มรี อยบุม๋ และมีตง่ิ เลก็ ๆ สุกสีแดง มจี ุดสนี �้ำ ตาลประปรายทวั่ ผล เมล็ดเดยี ว พบตามชายป่าดบิ เขากบั ทุง่ หญา้ หรือป่าทงุ่ ป่าสนเขาและพบไดใ้ นป่าดิบประเภทอื่น ประโยชน์ : –ผลสุกรสหวานกนิ ได้และเป็นอาหารของนกหลายชนดิ –ทง้ั ต้นเป็นยาสมนุ ไพร –ใบเป็นอาหารของกระทงิ –รปู ทรงตน้ สวยเหมาะปลูกเป็นไม้ประดบั 258 พรรณไมป้ ่าดิบเขาภูเขียว-นำ้�หนาว

ผู้ถ่าย สง่ ศรี อนุ่ จติ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธพ์ุ ืช 259

กำ�ลังช้างสาร (Kam Lang Chang San) พืชใบเลีย้ งคู่ วงศ์ MYRSINACEAE (PRIMULACEAE) ช่ือพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Maesa montana A. DC. ช่อื พ้อง (Synonym) : Maesa indica auct. non A. DC. ชอื่ อน่ื (Vernacular name) : ซา้ มักขา้ วดอย (เชียงใหม)่ ; ไคร้งอย (ลำ�ปาง); หัสคุณเครอื (เลย) ลักษณะทวั่ ไป : เป็นไมพ้ มุ่ หรือไม้ต้นขนาดเลก็ กิง่ ก้านเรียบเกลี้ยงหรือมขี นเล็กน้อย สีเขียวหรอื สนี �ำ้ ตาล ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน รูปรีหรือรูปใบหอก ปลายเรียวแหลม โคนสอบ ขอบหยักซ่ฟี ัน ด้านบน สเี ข้ม เกลยี้ งเปน็ มัน ดา้ นลา่ งสีอ่อนกว่าและมขี นคลมุ ประปรายหนาแนน่ ตามเสน้ ใบ มตี ่อมด้านล่าง ก้านใบสนั้ เรียงเวียน เส้นใบนูนออกดา้ นล่าง ชอ่ ดอกออกทซ่ี อกใบ รูปหางกระรอกสัน้ ๆ ดอกขนาดเล็ก สีขาว รปู ระฆัง มขี นเลก็ น้อย ผลทรงกลมหรือรูปไขข่ นาดเลก็ ปลายเป็นต่ิง ผวิ เรยี บเกลี้ยง ผลสุก อวบน�ำ้ สีขาวอมชมพู กา้ นผลเรยี วเลก็ ส้นั เมลด็ ขนาดเลก็ เท่าเม็ดทรายและมจี ำ�นวนมาก พบตามชายป่า และพื้นทเ่ี ปดิ โล่งในปา่ ดบิ เขาและป่าดบิ ประเภทอืน่ ประโยชน์ : ผลสกุ เป็นอาหารของนกกนิ ผลไมห้ ลายชนิด 260 พรรณไมป้ ่าดิบเขาภเู ขียว-นำ้�หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 261

รามยนู นาน (Ram Yunnan) พชื ใบเล้ียงคู่ วงศ์ MYRSINACEAE (PRIMULACEAE) ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Myrsine seguinii H. Lev. ช่ือพอ้ ง (Synonym) : Rapanea nerriifolia var. yunnanensis (Mez) Walker, R. capitellata auct. non Mez., R. subpedicellata H. R. letcher ลกั ษณะทว่ั ไป : เปน็ ไมต้ ้นขนาดเล็ก ผลดั ใบชว่ งส้นั ๆ ลำ�ต้นเปลาตรง ตามโคนต้นมีปุ่มนูนเป็นก้อน ขนาดเลก็ กิ่งตั้งฉากกับล�ำ ตน้ เปลอื กนอกบาง เรียบ สีเทาถงึ สนี ำ้�ตาล มีชอ่ งอากาศสีเทากระจาย เปลือกในสนี ้ำ�ตาล เห็นเส้นใยสานเป็นรา่ งแหชดั เจน ใบเดีย่ ว รปู รหี รือรปู รีแกมรปู ใบหอก ปลายแหลม หรอื มน โคนสอบ ขอบเรยี บหรือหยักตืน้ ๆ แผน่ ใบบาง เกล้ยี งทงั้ สองดา้ น หลังใบสีเขยี วเขม้ ด้านล่าง มจี ุดขนาดเลก็ สนี �้ำ ตาลกระจายจ�ำ นวนมาก กา้ นใบเปน็ ร่องต้ืน ๆ เรียงเวยี นเป็นกระจกุ ท่ีปลายก่งิ ยอดออ่ น มีเกล็ดสีนำ้�ตาลกระจายทว่ั เส้นกลางใบชดั เพียงเส้นเดียว ดอกแยกเพศอยู่ต่างตน้ ออก เป็นชอ่ จำ�นวนมากทีซ่ อกใบตามก่งิ ดอกสเี ขียวอ่อน ผลกลมขนาดเล็ก มจี ุกแหลมทป่ี ลายผล เมลด็ แข็งมเี มลด็ เดียว พบตามชายขอบและพน้ื ท่เี ปิดโลง่ ในปา่ ดบิ เขา ป่าสนเขา ป่าเตง็ รังระดับสงู ป่าทม่ี ีสภาพเปน็ ภูเขาหนิ ทรายและภูเขาหินปูน ประโยชน์ : –ดอกและรปู ทรงตน้ สวยเหมาะปลกู เปน็ ไม้ประดับ –ผลสกุ คาดวา่ น่าจะเปน็ อาหารของนกกินผลไม้หลายชนดิ 262 พรรณไมป้ า่ ดิบเขาภเู ขียว-น้ำ�หนาว

ขไ้ี ต้ (Khi Tai) พชื ใบเล้ียงคู่ วงศ์ MYRTACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Decaspermum parviflorum (Lam.) A. J. Scott subsp. parviflorum ชอ่ื พอ้ ง (Synonym) : Decaspermum fruticosum J. R. & G. Forst. ช่อื อ่นื (Vernacular name) : ตุกาบอื แน (มาเลเซีย–นราธิวาส); บเู งาะบาลี (มาเลเซยี –ปตั ตานี); กริม (สุราษฎรธ์ านี); พลองขีค้ วาย (ใต้); สู่มือฝ่อ (กะเหรย่ี ง); เสม่ พี อ (กะเหรย่ี ง–เชียงใหม่); หวั แหวน (เหนอื ) ลกั ษณะทว่ั ไป : เป็นไมพ้ ุ่มหรือไมต้ น้ ขนาดเลก็ ผลัดใบชว่ งส้ัน ๆ เรือนยอดกลมทึบ กิง่ อ่อน ยอดและ ช่อดอกมีขนสั้นนมุ่ สขี าวคลุม เปลือกนอกบาง เรยี บหรือแตกล่อน สนี �ำ้ ตาลถงึ เทาคล�ำ้ เปลือกในสี นำ้�ตาล ใบเด่ยี ว รปู ขอบขนานหรือรูปรแี คบ ๆ ปลายเรียวแหลม โคนมนหรือสอบเรยี ว ขอบเรยี บ ดา้ นบน สีเข้ม เกล้ยี งเปน็ มัน ด้านลา่ งสอี อ่ นกวา่ และมขี นสน้ั สขี าว เส้นใบเลือนราง กา้ นใบส้ัน เรียงตรงข้าม ใบแก่กอ่ นรว่ งสีแดง ช่อดอกออกทซี่ อกใบและปลายกงิ่ มดี อกยอ่ ยจ�ำ นวนมาก ดอกสมบูรณเ์ พศ ขนาดเล็ก สีขาวหรือสีครมี ผลกลมแปน้ ขนาดเล็ก ปลายเป็นจุก สกุ สมี ว่ งคล้ำ�หรือสีด�ำ เมล็ดขนาด เล็กมี ๘–๑๐ เมล็ด พบตามชายขอบหรือป่าดิบเขาท่คี ่อนข้างโปรง่ ปา่ ก�ำ ลงั ทดแทนบนพื้นที่สงู และ ในปา่ พรุ ประโยชน์ : –เนือ้ ไม้ ใชท้ �ำ ฟืน –ผลสุก เปน็ อาหารของนกกนิ ผลไม้หลายชนดิ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธพุ์ ชื 263

หว้าอ่างกา (Wa Ang Ka) พชื ใบเลีย้ งคู่ วงศ์ MYRTACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Syzygium angkae (Craib) Chantar. & J. Parn. subsp. angkae ชอ่ื พ้อง (Synonym) : Eugenia angkae Craib ชือ่ อืน่ (Vernacular name) : หว้า (ชยั ภูมิ) ลักษณะท่ัวไป : เปน็ ไมต้ น้ ไมผ่ ลัดใบ กิง่ กา้ นออ่ นเกลีย้ งสีน้ำ�ตาลแดง เปลอื กนอกแข็ง บาง เรยี บหรอื แตกเปน็ สะเก็ด สนี �้ำ ตาลแดง เปลือกในสนี ้ำ�ตาลคลำ้� ใบเด่ยี ว รปู รีหรอื รปู ไข่แกมรปู ขอบขนาน ปลาย เปน็ ติ่งเรียวแหลม โคนแหลมหรอื มน ขอบเรียบ แผ่นใบบาง เกลี้ยงเปน็ มนั ท้ังสองด้าน ด้านบนสี เขยี วเขม้ ดา้ นลา่ งสอี อ่ นกวา่ กา้ นใบสั้น เรยี งตรงขา้ ม เส้นใบนูนเด่นชดั ด้านลา่ ง มีเสน้ ขอบใบชัดเจน ยอดอ่อนสชี มพู ชอ่ ดอกออกเปน็ กระจุกทปี่ ลายก่งิ หรอื ทซี่ อกใบสน้ั ๆ ดอกสขี าวหรือสขี าวอมเขยี ว ผลสดกลมเกลี้ยง ปลายเปน็ จกุ มเี นื้อน้อยและบาง เมล็ดขนาดใหญ่และแข็ง พบตามพนื้ ท่ีลุ่มหรอื มี นำ�้ ขังริมหว้ ยในปา่ ดิบเขาและปา่ ดบิ เขาก่ึงพรุ ประโยชน์ : –ผลสกุ กินได้และเปน็ อาหารของสตั วป์ ่าหลายชนิด –เน้อื ไมใ้ ชก้ อ่ สร้างทว่ั ไป ความสำ�คัญ : ไม้หวงหา้ มประเภท ก 264 พรรณไม้ปา่ ดิบเขาภูเขียว-น�้ำ หนาว

หวา้ นา (Wa Na) พืชใบเล้ยี งคู่ วงศ์ MYRTACEAE ช่อื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Syzygium cinereum (Kurz) Chantar. & J. Parn. ชื่อพอ้ ง (Synonym) : Syzygium ribesoides Wall. Eugenia cinerea Kurz, E. pseudosubtilis King, E. pseudosubtilis King var. platyphylla King, E. pseudosubtilis King var. subacuminata King, E. pseudosubtilis King var. orientalis Craib, E. operculata Roxb. var. avicennifolia Craib, E. operculata var. cerasoides sensu Craib, E. operculata var. obovata sensu Craib, E. ixoroides Elmer, E. brachista sensu Duthie ชอ่ื อ่ืน (Vernacular name) : แดง, เสมด็ แดง (ชุมพร); หวา้ (ชัยภูมิ) ลกั ษณะทัว่ ไป : เปน็ ไมต้ ้น ผลดั ใบชว่ งสั้น ๆ เรอื นยอดโปร่ง ลำ�ต้นเปลาตรง แตกกิง่ สูง โคนต้นเปน็ ร่อง หรือมีพูพอนขนาดเล็ก เปลอื กนอกสขี าวอมเทา หนาเรยี บหรือแตกล่อน เหนยี วลอกออกเป็นแผ่นยาว ได้ เปลือกในหนา สนี �้ำ ตาล ใบเดยี่ ว รูปรีหรือรปู ขอบขนาน ปลายท่ถู ึงหยักเวา้ โคนสอบเรียวแคบ ขอบเรยี บ แผน่ ใบหนาคลา้ ยแผน่ หนงั เกล้ยี งทงั้ สองดา้ น ดา้ นบนสเี ขม้ กว่าดา้ นลา่ ง กา้ นใบสน้ั เรยี ง ตรงข้าม มีเสน้ ขอบใบเดน่ ชดั ยอดออ่ นสีมว่ ง ช่อดอกออกท่ซี อกใบและปลายกงิ่ มีดอกยอ่ ยจ�ำ นวน มาก ดอกสีขาวอมเหลือง ขนาดเล็ก ผลสด รูปกลมหรอื รปู รีขนาดเลก็ ปลายเปน็ จกุ สกุ สีแดงอมม่วง ถึงสดี �ำ มเี มลด็ เดยี ว พบตามทร่ี าบบนภูเขาสงู ที่ลุ่มน�ำ้ ขงั หรอื ริมหว้ ยในปา่ ดบิ เขาและปา่ พรุ ประโยชน์ : –เนอ้ื ไมใ้ ช้กอ่ สร้าง –ยอดออ่ นเปน็ อาหารของค่างแว่นถิ่นเหนือ –ผลสุกกนิ ไดแ้ ละเป็นอาหารของพญากระรอกดำ� กระเล็นขนปลายหสู ัน้ นกกก นกเงอื ก คอแดง นกเงอื กสีนำ้�ตาล นกแกก๊ นกหกเล็กปากแดง นกต้งั ล้อ นกโพระดก และนกปรอดอีกหลาย ชนดิ ความสำ�คัญ : ไมห้ วงหา้ มประเภท ก กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธพุ์ ืช 265

ชมพู่ป่า (Chom Phu Pa) พชื ใบเลีย้ งคู่ วงศ์ MYRTACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Syzygium megacarpum (Craib) Rathakr. & N. C. Nair ชอ่ื พ้อง (Synonym) : Syzygium macrocarpum (Roxb.) Bahadur & R. C.Gaur, S. latilibum (Merr.) Merr. & L. M. Perry, Eugenia macrocarpum Roxb., E. meacarpum Craib, E. latilimba Merr., Jambosa macrocarpa (Roxb.) Miq., J. coarctata Blume ช่ืออ่นื (Local name): ชมพู่ปา่ (ทัว่ ไป) ลักษณะทวั่ ไป : เปน็ ไมต้ น้ ไม่ผลัดใบ กิ่งก้านอ่อนเรยี บเกลี้ยงและแตกกง่ิ ตำ่� เปลือกนอกบาง เรียบหรอื แตกเป็นสะเก็ด สีน�ำ้ ตาลหรือสเี ทา ใบเดี่ยว รปู ใบหอกแกมรปู ขอบขนาน ปลายเปน็ ติง่ แหลม โคนเวา้ ขอบเรียบ แผน่ ใบหนากรอบเกลย้ี งเป็นมนั ทงั้ สองด้าน ดา้ นบนสเี ขียวเขม้ ด้านล่างสีอ่อนกวา่ กา้ นใบส้ัน เรียงตรงขา้ ม เสน้ ใบพองออกด้านล่าง มเี สน้ ขอบใบเดน่ ชดั ยอดออ่ นสีม่วง ชอ่ ดอกออกเป็นกระจกุ ที่ปลายกิ่งหรอื ทีซ่ อกใบ ดอกขนาดใหญ่ มีเกสรเพศผจู้ ำ�นวนมาก มองเผนิ ๆ คล้ายสีดอก แรกบาน สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสขี าวอมแดง ผลทรงกลมหรือรปู ไข่ ปลายมีกลบี รองกลบี ดอกและกา้ นเกสร เพศเมยี ตดิ อยู่ ผวิ บางเกลีย้ งหรอื มสี นั นนู ตามยาวหรอื คล้ายผิวเหี่ยวยน่ มีจดุ สีน�้ำ ตาลออ่ นกระจาย และมีเนื้อน้อย เมล็ดแขง็ ขนาดใหญเ่ กือบเทา่ ผล พบตามพนื้ ท่ีราบลุ่มหรือน�้ำ ขัง น้ำ�ตกหรือริมห้วยใน ปา่ ดิบท่วั ไป ประโยชน์ : –ผลสุกกินได้และเป็นอาหารของสตั ว์ปา่ –ดอกขนาดใหญ่ เปน็ แหล่งอาหารทสี่ �ำ คัญของผ้งึ และแมลงอนื่ ๆ –ใบมีขนาดใหญ่คงความเขียวได้ทง้ั ปี เหมาะปลกู เป็นไม้ใหร้ ่มเงา ความส�ำ คญั : ไม้หวงห้ามประเภท ก 266 พรรณไม้ป่าดิบเขาภเู ขยี ว-นำ้�หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 267

ชมพูน่ �้ำ (Chom Phu Nam) พืชใบเลยี้ งคู่ วงศ์ MYRTACEAE ช่อื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Syzygium siamense (Craib) Chantar. & J. Parn. ชอ่ื พ้อง (Synonym) : Eugenia siamensis Craib, E. rubida Ridl. ชอื่ อืน่ (Local name): หวา้ ปลอก (นครราชสีมา); ชมพู่คา่ ง (ตรงั ); ชมพ่ปู ่า (ท่ัวไป) ลักษณะทวั่ ไป : เป็นไมพ้ ุ่มหรือไม้ยนื ต้นขนาดเล็กไมผ่ ลดั ใบ กงิ่ ก้านอ่อนเรียบเกล้ียง แตก กิง่ ตำ่� เปลือกนอกบาง เรยี บหรอื แตกเปน็ สะเก็ด สนี ้ำ�ตาลหรอื สเี ทา ใบเดี่ยว รูปใบหอกแกม รูปขอบขนาน ปลายเปน็ ตงิ่ แหลม โคนมนหรอื เวา้ หรอื แหลม ขอบเรียบ แผ่นใบหนานุม่ เกล้ียงเปน็ มนั ทง้ั สองด้าน ดา้ นบนสีเขยี วเข้ม ด้านลา่ งสอี อ่ นกวา่ ก้านใบส้นั เรียงตรงข้าม เสน้ ใบพองออกดา้ นลา่ ง มเี ส้นขอบใบชัด ยอดอ่อนสมี ว่ ง ช่อดอกออกเป็นกระจุกท่ีปลายก่งิ หรือทซ่ี อกใบ ดอกสขี าว ชมพหู รือแดง ผลกลมหรือรูปไข่ ปลายผลมกี ลีบรองกลีบดอกและ ก้านเกสรเพศเมียติดอยู่คลา้ ยจกุ ผิวบางเกลีย้ งหรอื มีสันนูนตามยาวหรอื คลา้ ยผวิ เหี่ยว มี จดุ สนี ้�ำ ตาลอ่อนกระจายและมเี นอ้ื น้อย เมล็ดขนาดใหญ่แข็ง พบตามพ้ืนทีน่ �ำ้ ขัง น�ำ้ ตกหรือ ริมห้วย ในป่าดบิ ท่วั ไปและรมิ หว้ ยในป่าเบญจพรรณชน้ื ประโยชน์ : –ผลสุกกินไดแ้ ละเปน็ อาหารของสตั ว์ปา่ –ใบเป็นอาหารของชา้ งป่า ความส�ำ คญั : ไม้หวงห้ามประเภท ก/พืชถน่ิ เดยี ว/พบคร้ังแรกของโลกในประเทศไทย เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๕ 268 พรรณไม้ป่าดบิ เขาภเู ขียว-นำ้�หนาว

ขา้ วสารสเุ ทพ (Khao San Su Thep) พืชใบเลีย้ งคู่ วงศ์ OLEACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Chionanthus sutepensis (Kerr) P. S. Green ลกั ษณะทั่วไป : เป็นไม้ตน้ ไม่ผลดั ใบ เรือนยอดโปรง่ กงิ่ ก้านอ่อนเรยี บเกลยี้ ง มีคราบสีขาวเคลือบ และมชี ่องอากาศกระจายทวั่ เปลอื กนอกเรียบ สเี ทา ใบเด่ียว รปู รีแกมรปู ขอบขนาน ปลายทถู่ ึง เรียวแหลม โคนสอบเขา้ เป็นรูปลม่ิ ขอบเรยี บหรอื เป็นคลน่ื แผน่ ใบหนาเป็นคลน่ื เกลีย้ งเปน็ มันท้ัง สองดา้ น ดา้ นบนสเี ขม้ กวา่ ด้านลา่ ง กา้ นใบสน้ั เรยี งตรงขา้ มสลบั ตัง้ ฉาก เสน้ ใบนูนเด่นออกดา้ นล่าง ช่อดอกออกทซ่ี อกใบและปลายก่ิง ดอกสีขาวหรอื เหลอื งออ่ น ผลสดรูปมนรีขนาดปลายนิว้ ก้อย สุกสีขาวถึงสีมว่ งดำ� มเี มล็ดเดียว พบตามริมห้วยในป่าดิบเขา ปา่ พรแุ ละป่าดบิ ประเภทอื่น ประโยชน์ : –เนือ้ ไม้ใช้กอ่ สรา้ งชัว่ คราว –ท�ำ ไมฟ้ นื ความส�ำ คัญ : หายาก/ถนิ่ เดียว กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธพ์ุ ชื 269

มะลิไส้ไก่ (Ma Li Sai Kai) พืชใบเล้ยี งคู่ วงศ์ OLEACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Jasminum scandens (Retz.) Vahl ชอ่ื พอ้ ง (Synonym) : Nyctanthes scandens Retz. ชื่ออน่ื (Vernacular name) : ไกน่ อ้ ย (กลาง); ไสไ้ ก่ (นครราชสมี า); เสีย้ วต้น (ล�ำ ปาง); เสย้ี วผี (เชยี งใหม)่ ลักษณะท่วั ไป : เปน็ ไม้พมุ่ กงึ่ เถาเลื้อยพันขนาดเล็ก ใบเดี่ยว รปู ใบหอก ปลายแหลม โคนมน ขอบเรียบ แผน่ ใบหนา เกลีย้ งทง้ั สองดา้ น ยกเว้นเส้นกลางใบมีขนคลุมบาง ๆ ดา้ นบนสีเข้มกว่าดา้ นลา่ ง ก้านใบ ส้ัน เรยี งตรงข้าม เสน้ ใบนูนออกด้านลา่ ง ช่อดอกออกเปน็ กระจกุ ทซ่ี อกใบและปลายกิง่ ดอกสีขาว รปู ดอกเข็ม ปลายกลบี แยกเป็นหลายแฉก มกี ลิ่นหอมแรง ผลกลมหรอื รี ปลายมตี ง่ิ แหลม สุกสีด�ำ มี เมล็ดเดยี ว พบขน้ึ คลุมตามพุ่มไมใ้ นพ้นื ที่เปิดโลง่ ชายปา่ ดิบเขาที่ค่อนข้างช้นื และปา่ ดบิ เขาผสมสนเขา ประโยชน์ : –ดอกสวยและมกี ล่นิ หอม เหมาะพฒั นาเป็นไมป้ ระดบั –ผลสุกเป็นอาหารของนกกนิ ผลไม้ ขอ้ ควรจำ� : ดอกมกี ล่นิ หอมแรงคล้ายกล่ินดอกมะลิ 270 พรรณไม้ป่าดบิ เขาภเู ขียว-นำ�้ หนาว

ผ้ถู ่าย กติ ติ กรีตยิ ุตานนท์ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธุ์พืช 271

เครอื เขาเลี่ยม (Khruea Khao Liam) พชื ใบเลี้ยงคู่ วงศ์ OLEACEAE ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Myxopyrum smilacifolium (Wall.) Blume subsp. confertum (Kerr) P. S. Green ช่อื พอ้ ง (Synonym) : Myxopyrum confertum Kerr ชอื่ อืน่ (Vernacular name) : แม่กลอน (สรุ าษฎรธ์ าน)ี ; สานดิลอก (เขมร–สุรนิ ทร์) ลักษณะท่ัวไป : เปน็ ไมเ้ ถาเนือ้ แขง็ ไม่ผลดั ใบ กงิ่ หรอื เถาออ่ นรูปส่เี หล่ียมเกลีย้ ง ใบเด่ียว รปู ไข่ รปู ขอบขนานหรือรูปรี ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ขอบเรยี บหรือหยักตน้ื ๆ ตัง้ แตส่ ่วนกลาง ใบขน้ึ ไปหาปลายใบ แผ่นใบหนา แขง็ กรอบ เกลย้ี งท้งั สองด้าน ดา้ นบนสีเข้มกว่าด้านลา่ ง เส้นใบ แยกออกจากโคนใบ ๓ เสน้ และพองออกดา้ นลา่ งเด่นชัด ก้านใบสน้ั เรียงตรงข้ามสลบั ตง้ั ฉาก ช่อดอกออกที่ซอกใบ มีขนส้ันคลุมหนาแน่น ดอกสเี ขียวอมเหลือง ผลกลม เกลี้ยง เปน็ มนั ตรง ปลายมรี อยบุ๋มขนาดเลก็ พบข้นึ คลมุ พุม่ ไมต้ ามชายป่าดบิ เขา ปา่ ดิบประเภทอน่ื และปา่ เต็งรงั ระดบั สูง ประโยชน์ : –ปลูกเป็นซมุ้ ไม้ประดบั –ผลสกุ เป็นอาหารของนกกินผลไม้หลายชนดิ 272 พรรณไม้ปา่ ดิบเขาภูเขยี ว-น้ำ�หนาว



มะหิง่ ดง (Ma Hing Dong) พืชใบเลีย้ งคู่ วงศ์ PAPILIONACEAE (FABACEAE) ชือ่ พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Crotalaria bracteata Roxb. ex DC. ชือ่ อ่นื (Vernacular name) : หิง่ นก, หญา้ หิ่งเมน่ , ห่ิงกระจ้อน (เชยี งใหม)่ ลักษณะทัว่ ไป : เป็นไมพ้ ุ่มขนาดเล็ก กง่ิ กา้ นออ่ นมีขนนุ่มสขี าวนวลคลุม ใบประกอบมใี บยอ่ ย ๓ ใบ เรยี งเวยี น ใบยอ่ ยรูปใบหอกหรอื รูปไข่ ปลายและโคนทูถ่ งึ เรยี วแหลม ขอบเรียบหรือเปน็ คล่ืน แผ่นใบ มีขนนมุ่ คลุมบาง ๆ ด้านบนสเี ขม้ ดา้ นล่างสีเขียวนวล ช่อดอกออกท่ีซอกใบและปลายกิ่ง ดอกรูป ดอกถั่ว สีเหลือง เมอื่ แกเ่ ปล่ยี นเปน็ สนี ำ้�ตาลหรอื สมี ว่ ง ดอกเรม่ิ บานจากโคนช่อไปหาปลายชอ่ ผลเปน็ ฝัก รปู ทรงกระบอกหรอื ทรงกลมรี ปลายเปน็ ติ่งแหลม มีขนยาวสีครีมคลุมหนาแนน่ เมื่อแกผ่ ลแตกออก ตามตะเข็บ เมลด็ เกลยี้ ง มีหลายเมล็ด เปน็ ไม้พนื้ ล่างตามชายขอบป่าดิบเขา ป่าสนเขาและพ้นื ที่เปดิ โลง่ ระดบั สงู ประโยชน์ : –ดอกสวยงาม เหมาะปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั –ท้ังตน้ และรากเป็นยาสมุนไพร 274 พรรณไม้ป่าดิบเขาภเู ขียว-น้ำ�หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 275

สะบา้ ลิง (Sa Ba Ling) ผถู้ ่าย แฟม้ ภาพเขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่าภเู ขียว พชื ใบเลีย้ งคู่ วงศ์ PAPILIONACEAE (FABACEAE) ชื่อพฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Mucuna macrocarpa Wall. ชอ่ื พ้อง (Synonym) : Mucuna collettii Lace ชอื่ อนื่ (Vernacular name) : หมักบา้ ลืมดำ� (สโุ ขทัย); เบ้งเก่ (กะเหรย่ี ง–กาญจนบุร)ี ; มะบา้ แมง (เชยี งใหม่); ยางด�ำ (นครราชสมี า); แฮนเฮาหอ้ ม (เลย) ลักษณะทว่ั ไป : เป็นไม้เถาเลือ้ ยพนั เนอ้ื แขง็ ขนาดใหญ่ ใบประกอบมใี บย่อย ๓ ใบ กา้ นใบยาว เรยี งสลับ ใบย่อยรูปไข่แกมรูปรี ขอบเรยี บ ใบกลางขนาดใหญก่ ว่าใบคลู่ ่าง โคนสอบแคบ สว่ นใบคู่ลา่ ง โคนเบยี้ ว แผน่ ใบมขี นสากคลุมทัง้ สองด้าน ช่อดอกหอ้ ยลงตามลำ�ต้น มดี อกจำ�นวนมาก ดอกสมี ว่ ง คล�้ำ รูปดอกถ่ัว ผลเปน็ ฝกั แบนยาว รูปขอบขนานคล้ายดาบ สนี ำ้�ตาล คอดเป็นขอ้ ๆ ตามตำ�แหน่งของ เมลด็ แต่ละข้อมีเมล็ดเดียว เมล็ดรูปทรงแบนแขง็ เรยี บเกล้ยี ง สนี �้ำ ตาล มหี ลายเมลด็ พบเลอ้ื ยพนั และยึดโยงตน้ ไมใ้ นปา่ ดิบทกุ ประเภท ประโยชน์ : –เมลด็ ล�ำ ต้น และเปลือกเปน็ ยาสมุนไพร –เมล็ดทำ�เครอื่ งประดบั –ดอกใช้ประกอบอาหารได้ เป็นอาหารของชะนีธรรมดา 276 พรรณไมป้ า่ ดิบเขาภูเขยี ว-น�้ำ หนาว

กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ืช 277

ผกั ไผ่ต้น (Phak Phai Ton) พืชใบเลยี้ งคู่ วงศ์ PITTOSPORACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Pittosporum napaulense (DC.) Rehder & E. H. Wilson ชื่อพอ้ ง (Synonym) : Pittosporum floribundum Wright & Arn. ชอ่ื อืน่ (Vernacular name) : ขาวดง (เพชรบุรี); หวา้ ขนี้ ก (เลย) ลักษณะทั่วไป : เป็นไม้ตน้ ไม่ผลดั ใบขนาดเลก็ กง่ิ อ่อนมีขนสั้นสีขาวคลุมและมกี าบใบห้มุ ตายอด เปลอื กนอกหนา เรยี บ สีอมน�้ำ ตาล และมีช่องอากาศสีน�้ำ ตาลเขม้ หนาแน่น เปลือกในสีนำ้�ตาลอ่อน ใบเด่ยี ว รูปใบหอกกลบั ปลายแหลม โคนสอบแคบ ขอบเรยี บหรอื เปน็ คลืน่ แผน่ ใบเกลยี้ งทงั้ สองดา้ น ดา้ นบนสเี ขียวเขม้ ดา้ นลา่ งสีเขยี วนวล ก้านใบสั้น เรยี งเวียนเป็นกระจุกทป่ี ลายก่งิ ช่อดอกออกท่ีซอก ใบใกลป้ ลายกิ่ง มีดอกย่อยจำ�นวนมาก ดอกสเี หลืองออ่ น กล่ินหอมแรงคล้ายกล่ินดอกราตรี ผลกลม มีติ่งขนาดเล็กทีป่ ลาย เมอื่ แก่สเี หลืองแตกออกเป็น ๒ เสี่ยง เมลด็ ขนาดเล็กสีแดงมี ๑–๕ เมล็ด เนือ้ หมุ้ เมลด็ เปน็ เมอื กสีแดงสด เป็นไม้เรอื นยอดชั้นล่างถงึ ช้ันกลางในป่าดบิ เขา ปา่ ดบิ ชืน้ ปา่ ดิบแล้งและ ป่าสนเขา ประโยชน์ : –ผลสกุ เป็นอาหารของนกหลายชนดิ –ดอกสเี หลืองมีกลิ่นหอมแรง ควรพฒั นาเป็นไมป้ ระดับ –ใบเปน็ อาหารของกระทงิ 278 พรรณไมป้ า่ ดบิ เขาภูเขียว-น้ำ�หนาว

เหมือดคนดง (Mueat Khon Dong) พชื ใบเลีย้ งคู่ วงศ์ PROTEACEAE ชอ่ื พฤกษศาสตร์ (Botanical name) : Helicia formosana Hemsl. ชอื่ อ่นื (Vernacular name) : เขม็ , ผกั หยู (เชียงใหม)่ ; เนยี งกรุบ (สรุ าษฎรธ์ านี); เหมอื ดคนขาว (ตะวันออกเฉยี งเหนือ) ลกั ษณะท่ัวไป : เป็นไมต้ น้ ขนาดเล็กไมผ่ ลดั ใบ แตกกงิ่ ต�ำ่ เปลือกนอกบางเรยี บ สีนำ้�ตาล ใบเด่ยี ว รูปใบ หอกกลับ ปลายแหลม โคนสอบแคบ ขอบจกั ฟนั เลอ่ื ยลึกเป็นซ่แี หลม แผ่นใบหนาแข็ง เกล้ยี งเปน็ มนั ทัง้ สองดา้ น ด้านบนสเี ขยี วเข้ม ด้านลา่ งสีเขยี วนวล มีขนประปรายตามเส้นใบ โคนกา้ นใบพองเป็นปม เรียงเวียน ยอดอ่อนสีน�ำ้ ตาล ชอ่ ดอกออกทซ่ี อกใบหอ้ ยลงคลา้ ยหางกระรอก มีดอกย่อยจ�ำ นวน มาก ดอกสีขาวอมเหลือง ผลทรงกลม ปลายเปน็ ติ่งแหลม เปลอื กแขง็ ผิวเกลี้ยงหรอื มีเกลด็ สนี ้ำ�ตาลคลุม เมลด็ ขนาดใหญ่ มเี มลด็ เดยี ว เปน็ ไมช้ น้ั ลา่ งในป่าดบิ เขาและพบประปรายใน ปา่ ดบิ เขาผสมสน ประโยชน์ : –ผลเปน็ อาหารของสตั ว์ปา่ –ช่อดอกสวยเหมาะปลูกประดับในรม่ ความสำ�คญั : ไม้หวงห้ามประเภท ก กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธพ์ุ ืช 279


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook